ระบบ ซื้อ- ขายชุดนักเรียน ร้านห้องเสื้อ
ความเป็นมา
ระบบซื้อ- ขายชุดนักเรียนร้านห้องเสื้อ สาขาปราณบุรี เป็นร้านที่จำหน่ายเกี่ยวกับเครื่องแบบนักเรียน – นักศึกษาหลากหลายรูปแบบให้เลือกสรร เนื่องจากทำเลของ ร้านห้องเสื้อตั้งอยู่ในศูนย์การค้า และมีที่จอดรถสะดวกสะบาย ลูกค้าจึงมาใช้บริการกันมากขึ้น จึงทำให้มีแนวคิดที่จะขยายกิจการเพิ่มขึ้น นอกจากทางร้านห้องเสื้อจะมีการให้บริการทางด้านเครื่องแบบนักเรียน - นักศึกษาแล้วยังประกอบไปด้วยบุคลากร กระบวนการและอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการทำงานที่มีประสิทธิภาพ
ลักษณะการทำงานในระบบเดิม
ลักษณะการทำงานในระบบเดิม
แผนกขายสินค้า มีหน้าที่แนะนำรายการสินค้าที่มีในร้านให้กับลูกค้าดูรายละเอียด เมื่อลูกค้ายื่นใบสั่งซื้อสินค้าของลูกค้าให้พนักงานขายจะจัดเก็บหลักฐานไว้ โดยจัดเก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลถ้าการจัดเก็บเอกสารมีความซับซ้อน ยุ่งยากก็จะทำให้การทำงานเกิดความล่าช้า
บริษัทผู้จำหน่าย มีหน้าที่เป็นผู้จัดส่งสินค้าให้กับทางร้าน ตามที่ทางร้านทำใบสั่งซื้อสินค้า
เพิ่มส่งไป และเมื่อทางร้านได้รับสินค้าพร้อมใบกำกับสินค้าของผู้จำหน่าย ทางร้านก็จะทำการชำระเงินให้กับผู้จำหน่าย และผู้จำหน่ายจะจัดส่งใบเสร็จรับเงินมาให้กับทางร้านโดยเป็นใบเสร็จที่เขียนขึ้นเอง
เพิ่มส่งไป และเมื่อทางร้านได้รับสินค้าพร้อมใบกำกับสินค้าของผู้จำหน่าย ทางร้านก็จะทำการชำระเงินให้กับผู้จำหน่าย และผู้จำหน่ายจะจัดส่งใบเสร็จรับเงินมาให้กับทางร้านโดยเป็นใบเสร็จที่เขียนขึ้นเอง
ภารกิจหลักของร้านห้องเสื้อ
1. นำเสนอเครื่องแบบนักเรียน - นักศึกษาที่ดีและถูกต้องให้กับลูกค้า
2. บริการลูกค้าแบบเป็นกันเอง
3. ราคาไม่แพง วัตถุประสงค์ของร้านห้องเสื้อ
1. เพื่อเพิ่มจำนวนลูกค้า
2. เพื่อเพิ่มภาพลักษณ์
3. สนองความต้องการของลูกค้า
4. มีสินค้าที่เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า
1. เพื่อเพิ่มจำนวนลูกค้า
2. เพื่อเพิ่มภาพลักษณ์
3. สนองความต้องการของลูกค้า
4. มีสินค้าที่เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้า
เป้าหมายของร้านห้องเสื้อ
1. สร้างผลกำไรสูงสุด2. เพื่อขยายกิจการ
ขั้นตอนที่ 1 การค้นหาและเลือกสรรโครงการ (Project Identification and Selection
1. ค้นหาโครงการที่ต้องการพัฒนา
• โครงการพัฒนาระบบคำนวณเงินเดือน
• โครงการพัฒนาระบบซื้อ - ขายสินค้า
• โครงการพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้า
2. จำแนกและจัดกลุ่มโครงการที่ค้นหามา • โครงการพัฒนาระบบคำนวณเงินเดือน
• โครงการพัฒนาระบบซื้อ - ขายสินค้า
• โครงการพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้า
โครงการทั้ง 3 ที่สามารถค้นหามาได้ มีวัตถุประสงค์ของโครงการที่แตกต่างกันดังนี้
- โครงการพัฒนาระบบตรวจสอบและจัดการเอกสาร
มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทำรายงานสรุปการขายสินค้า รายงานข้อมูลลูกค้า รายงานข้อมูลผู้จำหน่าย และรายงานสรุปยอดรายรับ – รายจ่ายไปยังเจ้าของร้านโดยแฟ้มที่เกี่ยวข้องและใช้ในการตรวจสอบ ได้แก่ แฟ้มข้อมูลใบสั่งซื้อสินค้าของลูกค้า แฟ้มข้อมูลรายรับ – รายจ่าย แฟ้มลูกค้า และแฟ้มผู้จำหน่า
- โครงการพัฒนาระบบซื้อ - ขายสินค้า
มีวัตถุประสงค์เพื่อที่จะแนะนำสินค้าให้กับลูกค้าได้ เมื่อลูกค้ามาติดต่อซื้อสินค้า ฝ่ายขายสินค้าจะสอบถามในกรณีที่ลูกค้าจะเป็นสมาชิกหรือไม่ถ้าลูกค้าสนใจเป็นสมาชิกก็จัดเก็บข้อมูลของลูกค้าไว้ในแฟ้มข้อมูลลูกค้า
- โครงการพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้า
เมื่อผู้จำหน่ายส่งสินค้ามาให้ กระบวนการตรวจสอบและจัดการสินค้า จะต้องตรวจสอบรายการสินค้าที่ได้รับ กับรายการสั่งซื้อสินค้าเพิ่มว่าถูกต้องหรือไม่ และบันทึก
รายละเอียดลงในแฟ้มใบรับสินค้า เพิ่มยอมคงเหลือตามรายการสินค้าในแฟ้มใบรับสินค้าให้เป็นปัจจุบันอีกครั้งหนึ่งและปรับปรุงแฟ้มรายการสินค้าให้เป็นปัจจุบันด้วย
เมื่อพิจารณาวัตถุประสงค์ของโครงการทั้ง 3 แล้ว พบว่าล้วนแต่ให้ผลประโยชน์กับบริษัท จึงจำเป็นต้องคัดเลือกโครงการที่เหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบันของบริษัทมากที่สุด ดังนั้นจึงเริ่มต้นด้วยการนำโครงการทั้ง 3 มาเปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์ของบริษัทเพื่อค้นหาโครงการที่ตรงตามวัตถุประสงค์มากที่สุด และสามารถบรรลุเป้าหมายสูงสุดของบริษัทได้ดังรายละเอียดจากตารางต่อไปนี้
3. เลือกโครงการที่เหมาะสม (Selecting)
จากตารางเปรียบเทียบโครงการตามวัตถุประสงค์ของร้าน พบว่าโครงการพัฒนาระบบ
ซื้อ – ขายสินค้า ตรงตามวัตถุประสงค์ของทางร้านมากที่สุด แต่เนื่องจากต้องพิจารณาถึงงบประมาณและสถานการณ์ปัจจุบันของทางร้านแล้วเห็นควรว่าจะต้องนำโครงการทั้ง 3 มาพิจารณาตามข้อจำกัดเพิ่มเติม ได้แก่ ลักษณะหรือขนาดของร้าน และผลประโยชน์ที่ได้รับ เนื่องจากหากโครงการใดมีขอบเขตกว้างหรือมีขนาดใหญ่หมายถึงต้องใช้งบประมาณสูง ทำให้เกิดต้นทุนสูงซึ่งปัจจุบันทางร้าน
ยังไม่สามารถทำได้ แสดงรายละเอียดในตารางต่อไปนี้
ซื้อ – ขายสินค้า ตรงตามวัตถุประสงค์ของทางร้านมากที่สุด แต่เนื่องจากต้องพิจารณาถึงงบประมาณและสถานการณ์ปัจจุบันของทางร้านแล้วเห็นควรว่าจะต้องนำโครงการทั้ง 3 มาพิจารณาตามข้อจำกัดเพิ่มเติม ได้แก่ ลักษณะหรือขนาดของร้าน และผลประโยชน์ที่ได้รับ เนื่องจากหากโครงการใดมีขอบเขตกว้างหรือมีขนาดใหญ่หมายถึงต้องใช้งบประมาณสูง ทำให้เกิดต้นทุนสูงซึ่งปัจจุบันทางร้าน
ยังไม่สามารถทำได้ แสดงรายละเอียดในตารางต่อไปนี้
จากการพิจารณาโครงการทั้ง 3 โครงการตามวัตถุประสงค์ ลักษณะหรือขนาดของร้าน และ ผลประโยชน์ จะพบว่าโครงการที่ตรงตามวัตถุประสงค์ และให้ผลประโยชน์แก่บริษัท มากที่สุดคือ โครงการพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้า รองลงมาคือโครงการพัฒนาระบบตรวจสอบและจัดการเอกสาร และโครงการพัฒนาระบบซื้อ – ขายสินค้า แต่เนื่องจากข้อจำกัดทางด้านเงินลงทุนของร้านจึงเห็นควรเลือกโครงการพัฒนาระบบตรวจสอบและจัดการเอกสารก่อน ตามความเหมาะสมของเงินทุน ซึ่งระบบตรวจสอบและจัดการเอกสาร จะคลอบคลุมการทำงานทางด้านการเงินและเอกสาร อีกทั้งยังเป็นโครงการขนาดเล็กที่ทางร้านสามารถให้เงินลงทุนในส่วนนี้ได้ จึงปฏิเสธ (Reject) โครงการพัฒนาระบบซื้อ – ขายสินค้า เนื่องจากระบบตรวจสอบและจัดการเอกสาร ได้รวมงานดังกล่าวไว้ในระบบแล้ว ซึ่งระบบตรวจสอบและจัดการเอกสาร จะใช้ในการเก็บเอกสารที่สำคัญของบริษัทไม่ว่าจะเป็น ประวัติพนักงาน บัญชีรายรับ – รายจ่าย ประวัติลูกค้า เป็นต้น ไว้แล้ว สำหรับโครงการพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้าถึงแม้ว่าจะให้ผลประโยชน์และสามารถนำบริษัทไปสู่เป้าหมายสูงสุดได้ แต่ทางร้านคิดว่าน่าจะชะลอไว้ก่อน เนื่องจากเป็นโครงการขนาดใหญ่ใช้เงินทุนเป็นจำนวนมาก
ขั้นตอนที่ 2 ขั้นตอนการเริ่มต้นและวางแผนงานโครงการ (Project Initiating and Planning)
การเสนอแนวทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้งานหลังจากที่ได้วิเคราะห์ระบบเดิม และพบว่าปัญหาที่เกิดขึ้น คือการทำงานล่าช้า ซับซ้อน ยุ่งยากของแผนกขายสินค้า และบริษัทผู้จำหน่าย ดังนั้นจึงได้มีการนำเสนอโครงการพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้า ตามความต้องการในระบบใหม่ที่ได้รวบรวมจากผู้ใช้ที่เกี่ยวข้อง และผ่านการพิจารณาดำเนินโครงการแล้ว จึงนำเสนอทางร้านและผู้ใช้ระบบ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและนำมาแก้ไขให้ตรงตามความต้องการ
การเสนอแนวทางเลือกในการนำระบบใหม่มาใช้งานหลังจากที่ได้วิเคราะห์ระบบเดิม และพบว่าปัญหาที่เกิดขึ้น คือการทำงานล่าช้า ซับซ้อน ยุ่งยากของแผนกขายสินค้า และบริษัทผู้จำหน่าย ดังนั้นจึงได้มีการนำเสนอโครงการพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้า ตามความต้องการในระบบใหม่ที่ได้รวบรวมจากผู้ใช้ที่เกี่ยวข้อง และผ่านการพิจารณาดำเนินโครงการแล้ว จึงนำเสนอทางร้านและผู้ใช้ระบบ เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและนำมาแก้ไขให้ตรงตามความต้องการ
จากนั้น ทางร้านได้สร้างแนวทางเลือกต่าง ๆ ที่จะทำการเปรียบเทียบ เพื่อให้ทางร้านพิจารณาว่าควรเลือกแนวทางใดมาพัฒนาและติดตั้งระบบ โดยมีทางเลือกทั้งหมด 3 แนวทาง ดังนี้
1. การจัดซื้อซอฟต์แวร์สำเร็จรูป (Packaged Software)
2. จ้างบริษัทจากภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ
3. ใช้ทีมงานเดิมพัฒนาและติดตั้งระบบ (In-House Development)
2. จ้างบริษัทจากภายนอกเพื่อพัฒนาระบบ
3. ใช้ทีมงานเดิมพัฒนาและติดตั้งระบบ (In-House Development)
ทางร้านได้พิจารณาตัดสินใจเลือกแนวทาง ใช้ทีมงานเดิมพัฒนาและติดตั้งระบบ (In-House Development) เนื่องจากมีความเหมาะสมและตรงกับความต้องการมากที่สุด นอกจากจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดำเนินงานและความคุ้มค่าในการลงทุนแล้ว ยังเห็นการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างพนักงานด้วยกันเอง
การวางแผนงานโครงการ(Project planning)
แผนกขายสินค้า จะทำหน้าที่รับรายการสินค้าและแนะนำสินค้าที่มีในฝ่ายตรวจสอบ
และจัดการสินค้า แล้วทำรายการสินค้าที่มีในร้านเพื่อที่จะแนะนำสินค้าให้กับลูกค้าได้ เมื่อลูกค้ามาติดต่อซื้อสินค้า ฝ่ายขายสินค้าจะสอบถามในกรณีที่ลูกค้าจะเป็นสมาชิกหรือไม่ถ้าลูกค้าสนใจเป็นสมาชิกก็จัดเก็บข้อมูลของลูกค้าไว้ในแฟ้มข้อมูลลูกค้า เมื่อลูกค้าซื้อสินค้าฝ่ายขายสินค้าจะรับใบสั่งซื้อสินค้าจากลูกค้าแล้วนำมาทำรายการสั่งซื้อสินค้าส่งให้กับฝ่ายตรวจสอบและจัดการสินค้าจัดเตรียมสินค้า จากนั้นจึงส่งรายละเอียดการซื้อ-ขายทั้งหมดส่งให้ฝ่ายตรวจสอบและจัดการการเงิน ฝ่ายขายสินค้าจะรอรับเอกสารใบเสร็จรับเงิน จากนั้นจึงตรวจสอบเอกสารทั้งหมดแล้วทำการจัดส่งให้กับลูกค้า
และจัดการสินค้า แล้วทำรายการสินค้าที่มีในร้านเพื่อที่จะแนะนำสินค้าให้กับลูกค้าได้ เมื่อลูกค้ามาติดต่อซื้อสินค้า ฝ่ายขายสินค้าจะสอบถามในกรณีที่ลูกค้าจะเป็นสมาชิกหรือไม่ถ้าลูกค้าสนใจเป็นสมาชิกก็จัดเก็บข้อมูลของลูกค้าไว้ในแฟ้มข้อมูลลูกค้า เมื่อลูกค้าซื้อสินค้าฝ่ายขายสินค้าจะรับใบสั่งซื้อสินค้าจากลูกค้าแล้วนำมาทำรายการสั่งซื้อสินค้าส่งให้กับฝ่ายตรวจสอบและจัดการสินค้าจัดเตรียมสินค้า จากนั้นจึงส่งรายละเอียดการซื้อ-ขายทั้งหมดส่งให้ฝ่ายตรวจสอบและจัดการการเงิน ฝ่ายขายสินค้าจะรอรับเอกสารใบเสร็จรับเงิน จากนั้นจึงตรวจสอบเอกสารทั้งหมดแล้วทำการจัดส่งให้กับลูกค้า
ในบางครั้งบริษัทผู้จำหน่ายจัดส่งสินค้าไม่ตรงตามความต้องการของทางร้านที่ได้สั่งไป แล้วอ้างว่าแผนกขายสินค้าบอกความต้องการสินค้าที่ไม่ชัดเจนจึงทำห้เกิดการโต้แย้งขึ้น ส่งผลการทำงานล่าช้าและไม่มีประสิทธิภาพ และหากระบบงานไม่ได้รับการพัฒนาและปรับปรุงอาจจะทำให้เกิดปัญหาดังกล่าวไม่สิ้นสุด
ดังนั้นจึงควรมีโครงการพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้าเข้ามาใช้งานในร้านเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าวอีกทั้งยังช่วยให้ทางร้านมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น การบริหารจัดการงานต่างๆมีประสิทธิภาพมากขึ้น
เป้าหมาย
นำระบบตรวจเช็คสินค้ามาใช้งานในร้านภาย
วัตถุประสงค์
ระบบตรวจเช็คสินค้า มีวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานเพื่อวิเคราะห์ ออกแบบและพัฒนาให้เป็นระบบตรวจเช็คสินค้า ที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ได้
ขอบเขตของระบบ
โครงการจะพัฒนา ระบบตรวจเช็คสินค้าได้มีการจัดทำขึ้นโดยทีมงานพัฒนาสารสนเทศ
ภายในร้านเอง(In-House Development) พร้อมนี้ได้กำหนดขอบเขตของระบบนี้มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. ระบบมีการป้องกันข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2. ระบบจะต้องแบ่งการทำงานแต่ละส่วนอย่างชัดเจน แต่ข้อมูลสามารถเชื่อมโยง
3. ระบบจะต้องรองรับการทำงานแบบ Multi-User ได้
4. ระบบจะต้องใช้งานง่ายและสะดวก
ภายในร้านเอง(In-House Development) พร้อมนี้ได้กำหนดขอบเขตของระบบนี้มีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. ระบบมีการป้องกันข้อมูลในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2. ระบบจะต้องแบ่งการทำงานแต่ละส่วนอย่างชัดเจน แต่ข้อมูลสามารถเชื่อมโยง
3. ระบบจะต้องรองรับการทำงานแบบ Multi-User ได้
4. ระบบจะต้องใช้งานง่ายและสะดวก
ปัญหาที่พบจากระบบเดิม
จากการศึกษาเบื้องต้นตามที่ได้กล่าวไว้ในบทนำพบประเด็นของปัญหาที่เกิดขึ้นสามารถแยกแยะได้ดังต่อไปนี้
1. แผนกบัญชีมีภาระหน้าที่นอกเหนือจากหน้าที่หลัก จึงทำให้งานที่ได้โดยรวมไม่มuประสิทธิภาพ
2. พนักงานมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทำให้การคำนวณเงินแบบเดิมผิดพลาดบ่อยครั้ง
3. มีเอกสารอยู่มากมาย จึงทำให้ต้องเสียเวลาในการค้นหาข้อมูล บางครั้งเอกสารสูญหายทำให้ข้อมูลสูญหายไปด้วยรวมทั้งสิ้นเปลืองเนื้อที่ในการจัดเก็บเอกสาร
4. จัดทำสลิปเงินเดือนและรายงานประเภทต่าง ๆ ล่าช้า
ความต้องการในระบบใหม่
2. ตอบสนองความต้องการของลูกค้าด้ทันที
3. มีการเก็บข้อมูลสินค้าที่เรียบร้อย สามารถหาได้ง่าย
ประโยชน์ที่จะได้รับจากระบบใหม่
ประโยชน์จากการนำระบบตรวจเช็คสินค้ามาประยุกต์ใช้ในร้าน มีดังต่อไปนี้
1. สามารถเรียกดูข้อมูลสินค้าย้อนหลังได้
2. ลดจำนวนพนักงาน
3. ลดความผิดพลาดในการแนะนำสินค้าแก่ลูกค้า บริษัทมีภาพลักษณ์ที่ดีขี้น
4. ร้านมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น
5. สามารถนำข้อมูลต่าง ๆ มาใช้ในการตัดสินใจได้
6. มีการจัดเก็บเอกสารที่เรียบร้อย สะอาดและสะดวก
7. มีจำนวนลูกค้าเพิ่มมากขึ้น
2. การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ (Projet Identification and Planning)
3. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)
4. การออกแบบเชิงตรรกะ ( Logical Design)
5. การออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design)
6. การพัฒนาและคิดตั้งระบบ (System Implementation)
7. การซ่อมบำรุงระบบ (System Mainteanace)
2. พนักงานมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นทำให้การคำนวณเงินแบบเดิมผิดพลาดบ่อยครั้ง
3. มีเอกสารอยู่มากมาย จึงทำให้ต้องเสียเวลาในการค้นหาข้อมูล บางครั้งเอกสารสูญหายทำให้ข้อมูลสูญหายไปด้วยรวมทั้งสิ้นเปลืองเนื้อที่ในการจัดเก็บเอกสาร
4. จัดทำสลิปเงินเดือนและรายงานประเภทต่าง ๆ ล่าช้า
ความต้องการในระบบใหม่
ความต้องการในระบบตรวจเช็คสินค้า ที่รวบรวมมาได้ดังนี้
1. สามารถเรียกดูข้อมูลสินค้าได้อย่างรวดเร็ว 2. ตอบสนองความต้องการของลูกค้าด้ทันที
3. มีการเก็บข้อมูลสินค้าที่เรียบร้อย สามารถหาได้ง่าย
ประโยชน์ที่จะได้รับจากระบบใหม่
ประโยชน์จากการนำระบบตรวจเช็คสินค้ามาประยุกต์ใช้ในร้าน มีดังต่อไปนี้
1. สามารถเรียกดูข้อมูลสินค้าย้อนหลังได้
2. ลดจำนวนพนักงาน
3. ลดความผิดพลาดในการแนะนำสินค้าแก่ลูกค้า บริษัทมีภาพลักษณ์ที่ดีขี้น
4. ร้านมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น
5. สามารถนำข้อมูลต่าง ๆ มาใช้ในการตัดสินใจได้
6. มีการจัดเก็บเอกสารที่เรียบร้อย สะอาดและสะดวก
7. มีจำนวนลูกค้าเพิ่มมากขึ้น
แนวทางในการพัฒนา
ระบบตรวจเช็คสินค้า มีแนวทางในการดำเนินงานตามวงจรการพัฒนาระบบ (System Development Life Cycle: SDLC) ในรูปแบบ Adapted Waterfallโดยในแต่ละขั้นตอนเมื่อดำเนินงานอยู่สามารถย้อนกลับข้ามขั้นโดยไม่จำเป็นต้องเป็นขั้นตอนที่ติดกันได้ และ Methodology ที่เลือกใช้เพื่อดำเนินการพัฒนาระบบตาม SDLC คือ Structured System Analysis and Design Methodology (SSADM) ซึ่งเป็น Methodology ที่ใช้แบบจำลองในการอธิบายขั้นตอนการทำงานของระบบใหม่
และ ข้อมูลทั้งหมด ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงขั้นตอนการดำเนินงานให้เหมาะสมกับบริษัทแล้ว สามารถแบ่งได้ทั้งหมด 7 ขั้นตอนดังนี้
1. การค้นหาและเลือกสรรโครงการ (Projet Identification and Selection)และ ข้อมูลทั้งหมด ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงขั้นตอนการดำเนินงานให้เหมาะสมกับบริษัทแล้ว สามารถแบ่งได้ทั้งหมด 7 ขั้นตอนดังนี้
2. การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ (Projet Identification and Planning)
3. การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)
การวิเคราะห์ระบบ ซื้อ- ขายชุดนักเรียนร้านห้องเสื้อ
ระบบซื้อ- ขายชุดนักเรียนร้านห้องเสื้อ สาขาปราณบุรี ประกอบไปด้วยบุคลากร กระบวนการและอุปกรณ์ต่างๆที่ใช้ในการทำงาน เนื่องจากมีข้อมูลหรือสารสนเทศที่เกี่ยวข้องอยู่เป็นจำนวนมาก จึงทำให้การทำงานในบางขั้นตอนเกิดความยุ่งยาก ซ้ำซ้อน ขาดประสิทธิภาพ
ในการทำงานซึ่งสามารถวิเคราะห์รายละเอียด การทำงานของร้านห้องเสื้อ สาขาปราณบุรี ได้ดังนี้
ในการทำงานซึ่งสามารถวิเคราะห์รายละเอียด การทำงานของร้านห้องเสื้อ สาขาปราณบุรี ได้ดังนี้
แผนการดำเนินงานของโครงการ
แผนการดำเนินงานของโครงการพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้า มีดังต่อไปนี้
1. ทีมงานผู้รับผิดชอบโครงการ ทีมงานผู้รับผิดชอบโครงการที่จะได้รับมอบหมายคือบุคลากรแผนกคอมพิวเตอร์ทั้ง3คนจะดำรงตำแหน่งเนื่องจาก โครงการพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้า ดังต่อไปนี้
1.1 นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ ได้แก่หัวหน้าแผนกคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ ตลอดจนเก็บรวบรวมข้อมูลและติดต่อประสานงานระหว่างผู้ใช้กับทีมโปรแกรมเมอร์ จัดทำเอกสารของระบบ ทดสอบโปรแกรมของระบบ และอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
1.2 โปรแกรมเมอร์ได้แก่ เจ้าหน้าที่คอมพิวเตอร์จำนวนสองคน ทำหน้าที่ในการเขียนและติดตั้งโปรแกรมของระบบ รวมทั้งทดสอบโปรแกรมและพัฒนาตัวต้นแบบเพื่อสอบถามความคิดเห็นและผลการตอบรับจากผู้ใช้ระบบ
2. ประมาณการใช้แหล่งทรัพยากร
3. ประมาณการใช้งบประมาณ
4. ประมาณระยะเวลาดำเนินงาน
2.ประมาณการใช้แหล่งทรัพยากร
ปัจจุบันทางบริษัทใช้ระบบเครือข่ายLAN อยู่แล้วมีรายละเอียดต่อไปนี้
1.แม่ข่าย Serverจำนวน 1เครื่อง
2.เครื่องลูกข่าย (Workstation) จำนวน15 เครื่อง
3.เครื่องพิมพ์ (Printer) 3 เครื่อง
<><> >
<><> >
<><> >
<><> >
<><> >
<><> >
ตัวอย่างแบบฟอร์มบัญชีรายรับ - รายจ่าย
ใบสั่งสินค้าเพิ่ม ใบขออนุญาตซื้อสินค้า
ใบสั่งซื้อสินค้า
ใบขออนุมัติสั่งซื้อสินค้าเพิ่ม
ข้อมูลสินค้า
D1 แฟ้มข้อมูลสินค้า
D2 แฟ้มข้อมูลลูกค้า
ใบขออนุมัติซื้อสินค้าเพิ่ม
ใบอนุมัติซื้อสินค้าเพิ่ม
ผู้จำหน่าย
ข้อมูลผู้จำหน่าย ใบส่งสินค้าของผู้จำหน่าย สินค้า
ข้อมูลสินค้า
ใบอนุมัติการซื้อ
ใบรับสินค้า จำนวนสินค้า รายการซื้อสินค้าเพิ่ม
มีไม่พอ
3.ประมาณการใช้งบประมาณ
ต้นทุนที่เกิดขึ้นครั้งเดียว (one-time Costs) ระบบตรวจเช็คสินค้า | |
เจ้าของกิจการ : | |
ค่าตอบแทนสำหรับทีมพัฒนาประกอบไปด้วย - นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1คน - โปรแกรมเมอร์ 2 คน | 200,000 |
แผนกซื้อ- ขายสินค้า : | |
1 วัน ฝึกอบรมพนักงาน | 1,000 |
1 วัน ฝึกอบรมผู้ดูแลระบบ | 2,000 |
จัดซื้ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์ : | |
เครื่องคอมพิวเตอร์ใช้เป็น Workstation(เพิ่มเติม) | 95,000 |
อื่นๆ | 10,500 |
รวม | 207,500 |
ต้นทุนที่เกิดขึ้นซ้ำอีก (Recurring Costs) ระบบตรวจเช็คสินค้า | |
ค่าใช้จ่ายระหว่างการดำเนินงาน : | |
ค่าบำรุงรักษาระบบ | 30,000 |
จัดซื้อสื่อเก็บข้อมูลสำรอง | 2,000 |
รวม | 32,000 |
4.ประมาณการระยะเวลาดำเนินงาน
ระยะเวลาดำเนินงานของโครงการพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้า จะใช้เวลาประมาณ 6 เดือน จากเดือน มกราคม 2555 ถึงกลางเดือน มิถุนายน 2555 ซึ่งมีรายละเอียดแสดงไว้ใน Gantt Chart ดังนี้
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน | ||||||||||
ลำดับ | ชื่องาน | จำนวน วันที่ทำงาน | วันเริ่มงาน | วันสิ้นสุด การทำงาน | พุทธศักราช 2555 | |||||
ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | |||||
1. | วิเคราะห์ระบบ | 26 วัน | 1/01/55 | 5/02/55 | ||||||
2. | รวบรวมข้อมูล | 5 วัน | 1/01/55 | 7/01/55 | ||||||
3. | วิเคราะห์ระบบเดิม | 5 วัน | 8/01/55 | 14/01/55 | ||||||
4. | กำหนดความต้องการของระบบใหม่ | 15 วัน | 15/01/55 | 4/02/55 | ||||||
5. | นำเสนอรูปแบบใหม่ | 1 วัน | 5/02/55 | 5/02/55 | ||||||
6. | ออกแบบระบบ | 11 วัน | 5/02/55 | 19/02/55 | ||||||
7. | ออกแบบฟอร์มและรายงาน | 5 วัน | 5/02/55 | 11/02/55 | ||||||
8. | ออกแบบ user interface | 5 วัน | 5/02/55 | 11/02/55 | ||||||
9. | ออกแบบฐานข้อมูล | 5 วัน | 12/02/55 | 18/02/55 | ||||||
10. | นำเสนอระบบ Phototype | 1 วัน | 19/02/55 | 19/02/55 | ||||||
11. | พัฒนาและติดตั้งระบบ | 62 วัน | 20/02/55 | 13/03/55 |
ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารงาน | ||||||||||
ลำดับ | ชื่องาน | จำนวน วันที่ทำงาน | วันเริ่มงาน | วันสิ้นสุด การทำงาน | พุทธศักราช 2555 | |||||
ม.ค. | ก.พ. | มี.ค. | เม.ย. | พ.ค. | มิ.ย. | |||||
12. | เขียนโปรแกรม | 30 วัน | 20/02/55 | 31/02/55 | ||||||
13. | ทดสอบและแก้ไขโปรแกรม | 7 วัน | 01/03/55 | 09/04/55 | ||||||
14. | จัดทำเอกสาร | 8 วัน | 10/02/55 | 21/04/55 | ||||||
15. | จัดซื้ออุปกรณ์เพิ่มเติม | 6 วัน | 22/02/55 | 29/05/55 | ||||||
16. | ติดตั้งระบบใหม่ | 8 วัน | 30/02/55 | 10/06/55 | ||||||
17. | ฝึกอบรม | 2 วัน | 11/03/55 | 18/06/55 | ||||||
18. | สรุปผลโครงการ | 1 วัน | 13/03/55 | 19/06/55 |
ขั้นตอนที่3
การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)
การกำหนดความต้องการของระบบ (System Requirements Determination)
เมื่อโครงการพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้า ได้รับการพิจารณาจากการนำเสนอโครงการในขั้นตอนที่ผ่านมาและได้มีการรวบรวมข้อมูลในเบื้องต้นเพื่อค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นมาบ้างแล้ว ดังนั้นในขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบจึงเริ่มต้นด้วยการรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม ซึ่งรวมทั้งรายละเอียดในการทำงานในปัจจุบันและความต้องการในระบบใหม่ เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจากระบบเดิม
ในการกำหนดความต้องการครั้งนี้ ทีมงานเลือกใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
และการออกแบบสอบถาม (Questionnaire) เนื่องจากการสุ่มตัวอย่างจะเป็นการสุ่มบุคคลตามกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเพราะว่าไม่สามารถศึกษาและรวบรวมเอกสารต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั้งหมดได้จึงใช้เทคนิคการสุ่มตัวอย่างเอกสาร 1 กลุ่มตัวอย่างจากทั้งหมด แต่จะต้องมากพอที่จะทำใหทราบถึงขั้นตอนและเงื่อนไขการดำเนินการได้ สำหรับวิธีการออกแบบสอบถาม สามารถกำหนดคำถามที่ต้องการได้ตรงประเด็น บุคคลที่ใช้ในการตอบแบบสอบถามก็เป็นบุคคลที่อยู่ในกลุ่มเป้าหมาย
และการออกแบบสอบถาม (Questionnaire) เนื่องจากการสุ่มตัวอย่างจะเป็นการสุ่มบุคคลตามกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเพราะว่าไม่สามารถศึกษาและรวบรวมเอกสารต่าง ๆ ที่มีอยู่ทั้งหมดได้จึงใช้เทคนิคการสุ่มตัวอย่างเอกสาร 1 กลุ่มตัวอย่างจากทั้งหมด แต่จะต้องมากพอที่จะทำใหทราบถึงขั้นตอนและเงื่อนไขการดำเนินการได้ สำหรับวิธีการออกแบบสอบถาม สามารถกำหนดคำถามที่ต้องการได้ตรงประเด็น บุคคลที่ใช้ในการตอบแบบสอบถามก็เป็นบุคคลที่อยู่ในกลุ่มเป้าหมาย
1. การสุ่มตัวอย่าง (Sampling) บุคคลที่สุ่มตัวอย่างคือ “นักเรียน – นักศึกษา” ซึ่งจะทำให้ทราบถึง ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสินค้า และรายละเอียดทั่วไปเกี่ยวกับการทำงานและการให้บริการของทางร้าน สาเหตุที่เลือกวิธีการสุ่มตัวอย่างของ นักเรียน - นักศึกษา เนื่องจากเป็นผู้ที่สามารถให้ข้อมูลการทำงานโดยภาพรวม ภารกิจหลัก วัตถุประสงค์และเป้าหมาย ของทางร้านได้อย่างชัดเจน
2.ออกแบบสอบถาม (Questionnaire) บุคคลผู้ตอบแบบสอบถามคือ “ผู้ใช้บริการชุด
นักเรียน – นักศึกษา ” การใช้แบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลในส่วนที่ต้องการพัฒนา เนื่องจากสามารถควบคุมหัวข้อคำถามที่ต้องการรายละเอียดได้มากกว่าและใช้เวลาน้อยกว่า การสุ่มตัวอย่าง อีกทั้ง
ผู้ตอบแบบสอบถามจะรู้สึกมีอิสระในการให้ข้อมูล
นักเรียน – นักศึกษา ” การใช้แบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูลในส่วนที่ต้องการพัฒนา เนื่องจากสามารถควบคุมหัวข้อคำถามที่ต้องการรายละเอียดได้มากกว่าและใช้เวลาน้อยกว่า การสุ่มตัวอย่าง อีกทั้ง
ผู้ตอบแบบสอบถามจะรู้สึกมีอิสระในการให้ข้อมูล
ตัวอย่างหัวข้อคำถามเพื่อการสุ่มตัวอย่าง
แบบฟอร์มหัวข้อคำถามเพื่อการสุ่มตัวอย่าง |
ชื่อ (นาย , นาง , นางสาว )........................................... นามสกุล....................................................... อายุ............................. ปี เกิดวันที่......................................................บ้านเลขที่............................... ซอย...............................ถนน..........................................................หมู่ที่........................................... ตำบล....................................................... .........อำเภอ ..................................................................... จังหวัด.......................................................................... .....รหัสไปรษณีย์ ........................................ ความคิดเห็นเกี่ยวกับสินค้าของร้าน ห้องเสื้อ .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ความคิดเห็นของการให้บริการของร้านห้องเสื้อ .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ความคิดเห็นเกี่ยวกับราคาสินค้าของร้านห้องเสื้อ .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ตวามคิดเห็นเกียวกับความสะดวกสะบายในการเลือกซื้อสินค้า .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ความคิดเห็นเกี่ยวกับทำเลที่ตั้งของร้านห้องเสื้อ .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ข้อเสนอแนะ ....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... |
ตัวอย่างหัวข้อแบบสอบถาม
แบบสอบถามความคิดเห็นเกียวกับร้านห้องเสื้อ ตอนที่ 1 ข้อมูลส่วนตัวผู้ตอบแบบสอบถาม ใส่เครื่องหมาย ในช่องสี่เหลี่ยม เพศ ชาย อายุ 15 - 20 ปี อาชีพ รับราชการ หญิง 25 – 30 ปี รับจ้าง 31 – 35 ปี ธุรกิจส่วนตัว 36 ปีขึ้นไป นักเรียน- นักศึกษา จบการศึกษาในระดับ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 ปริญญาตรี ปวช. ปริญญาโท ปวส. อื่นๆ........... ตอนที่ 2 ความคิดเห็นเกียวกับร้านห้องเสื้อ
ข้อเสนอแนะ.................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... |
ข้อมูลและเอกสารของระบบงานเดิมที่รวบรวมได้
จากการที่ทีมงานได้รวบรวมข้อมูลของงานระบบเดิม ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างและการออกแบบสอบถาม สามาสรุปข้อมูลที่ได้รับดังนี้
1. ข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ของระบบเดิม
2. ความต้องการของระบบใหม่
3. ตัวอย่างเอกสาร แบบฟอร์ม และรายงานของระบบเดิม
1. ข้อมูลระบบคอมพิวเตอร์ของระบบเดิม ทางร้านใช้ระบบเครือข่ายแบบ LAN ประกอบไปด้วย
1.เครื่องแม่ข่าย (Server) จำนวน 1 เครื่อง ใช้ซอฟต์แวร์เครือข่าย Windows NT
2.เครื่องลูกข่าย (Workstation) จำนวน 15 เครื่อง ใช้ระบบปฏิบัติการ (Operating System) Windows XP ซอฟต์แวร์สำหรับงานสำนักงาน Microsoft Office 2003
3.อุปกรณ์ต่อพ่วงได้แก่ เครื่องพิมพ์แบบเลเซอร์ (Laser Jet) จำนวน 2 เครื่อง เครื่องพิมพ์
แบบพ่นหมึก (Ink Jet) จำนวน 2 เครื่อง และเครื่องพิมพ์แบบหัวเข็ม (Dot Matrix) จำนวน 3 เครื่อง
2. ความต้องการในระบบใหม่จากแบบสอบถาม ทางทีมงานสามารถสรุปความต้องการในระบบใหม่ได้ ดังต่อไปนี้
1. สามารถเรียกดูข้อมูลสินค้าได้อย่างรวดเร็ว
2. ตอบสนองความต้องการของลูกค้าด้ทันที
3. มีการเก็บข้อมูลสินค้าที่เรียบร้อย สามารถหาได้ง่าย
3. ตัวอย่างเอกสาร แบบฟอร์ม และรายงานของระบบเดิม
เจ้าของร้าน |
บริษัท ผู้จำหน่าย |
พนักงานตรวจสอบ และจัดการการเงิน |
พนักงานขายสินค้า |
พนักงานตรวจสอบ และจัดการสินค้า |
ลูกค้า |
พนักงานตรวจสอบ และจัดการเอกสาร |
แสดงตัวอย่างแผนผังองค์กร
ร้าน ห้องเสื้อ ใบสั่งซื้อสินค้า ประจำวันที่..................เดือน..........................พ.ศ...........................................
.............................................. (...........................................) ตำแหน่ง............................................ ผู้สั่งซื้อสินค้า |
ตัวอย่างแบบฟอร์มใบสั่งซื้อสินค้า
ร้าน สินค้าตามสั่ง ใบส่งสินค้า ประจำวันที่..................เดือน..........................พ.ศ...........................................
.............................................. (...........................................) ตำแหน่ง............................................ ผู้ส่งสินค้า |
ตัวอย่างแบบฟอร์มใบสั่งซื้อสินค้า
ข้อมูลลูกค้า ชื่อ (นาย , นาง , นางสาว).............................................นามสกุล...................................... เกิดวันที่.......................................................บ้านเลขที่...................................................... หมู่ที่...............................ซอย...........................................ถนน......................................... ตำบล....................................อำเภอ.....................................จังหวัด................................. รหัสไปรษณีย์............................................เบอร์โทร........................................................ จบการศึกษาระดับ............................................................................................................ อาชีพ..................................................รายได้.................................................................... บิดาชื่อ............................... นามสกุล...............................อาชีพ....................................... มารดาชื่อ............................. นามสกุล..............................อาชีพ...................................... สถานะภาพ โสด สมรส หย่าร้าง แยกกันอยู่ ชื่อคู่สมรส....................................................อาชีพ........................................................... จำนวนบุตร..........................................คน กำลังศึกษาอยู่............................................คน ประกอบอาชีพ.................................................คน รายได้.........................................บาท เป็นสมาชิกของทางร้านมา......................................ปี |
ตัวอย่างแฟ้มข้อมูลลูกค้า
ร้านห้องเสื้อ ใบเสร็จรับเงิน ประจำวันที่..................เดือน..........................พ.ศ...........................................
.............................................. (...........................................) ตำแหน่ง............................................ ผู้จ่ายเงิน |
ตัวอย่างแบบฟอร์มใบเสร็จรับเงิน
ร้าน ห้องเสื้อ สรุปบัญชีรายรับ - รายจ่ายสินค้า ประจำวันที่........................................เดือน...................................พ.ศ.........................
........................................ (.......................................) ผู้บันทึกข้อมูล |
ร้าน ห้องเสื้อ สรุปยอดขายสินค้า ประจำวันที่........................................เดือน...................................พ.ศ.........................
........................................ (.......................................) ผู้บันทึกข้อมูล |
ตัวอย่างแบบฟอร์มยอดขายสินค้า
แบบจำลองขั้นตอนการทำงานของระบบ(Process Modeling)
หลังจากโครงการพัฒนาระบบตรวจเช็คสินค้า ได้รับการพิจารณาแล้ว ทีมงานนักพัฒนาระบบจึงได้วิเคราะห์ความต้องการของระบบใหม่ที่รวบรวมมาจากผู้ใช้ระบบ โดยสามารถจำลองได้ด้วยแผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram: DFD) ดังนี้
ระบบตรวจเช็คสินค้า |
ผู้จำหน่าย |
เจ้าของร้าน |
ลูกค้า |
ฝ่ายขาย |
ข้อมูลสินค้า
ข้อมูลผู้จำหน่าย ใบอนุมัติสั่งซื่อ
ใบกำกับสินค้าของผู้จำหน่าย
ตัวอย่างสินค้า
รายการสินค้าที่มี
ข้อมูลลูกค้า
ใบสั่งซื้อสินค้า
Context Diagram
ตรวจเช็คข้อมูลสินค้า |
ขออนุมัติรายการสินค้าที่ซื้อเพิ่ม |
ทำใบสั่งซื้อสินค้าเพิ่ม |
ตรวจเช็คแก้ไขข้อมูลสินค้า |
บันทึกข้อมูลผู้จำหน่ายและส |
ผู้จำหน่าย |
เจ้าของร้าน |
ผู้จำหน่าย |
ใบอนุมัติสั่งซื้อสินค้าเพิ่ม
ผู้จำหน่าย
ข้อมูลผู้จำหน่าย ใบส่งสินค้าผู้จำหน่าย สินค้า
ใบอนุมัติการซื้อ
จำนวนสินค้า
ใบรับสินค้า มีไม่พอ รายการซื้อสินค้าเพิ่ม
สินค้า ใบสั่งซื้อสินค้าเพิ่ม
ผู้จำหน่าย ใบสั่งซื้อสินค้าเพิ่ม
DFD Level 0 ระบบตรวจเช็คสินค้า
บันทึกข้อมูลสินค้า |
บันทึกข้อมูลการขายสินค้า |
ข้อมูลการขายสินค้า ข้อมูลการขายสินค้า
ฝ่ายขาย |
ข้อมูลการสั่งสินค้า ข้อมูลการสั่งสินค้า
DFD Level 1 บันทึกข้อมูลสินค้า
ขั้นตอนที่4
การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design)
การออกแบบระบบ (System Design)
ในขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบ (System Design) ที่ผ่านมา เป็นขั้นตอนที่ทำให้นักวิเคราะห์ระบบสามารถทำความเข้าใจในระบบที่กำลังพัฒนาได้มากขึ้น เนื่องจากข้อมูลที่เป็นราบละเอียดในการทำงานของระบบ ได้ถูกนำมาใช้ในการวิเคราะห์ถึงปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน โดยการจำลองขั้นตอนการทำงานของระบบ (Process Model) ด้วยแผนภาพ DFD (Data Flow Diagram) และจำลองความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่เกิดขึ้น (Data Model) จากขั้นตอนการทำงานของระบบ E-R Diagram ซึ่งแผนภาพที่ใช้จำลอง “ข้อเท็จจริง” ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเหล่านี้เรียกว่า แผนภาพเชิงตรรกะ(Logical Model) เนื่องจากเป็นแบบจำลองที่แสดงข้อเท็จจริงของระบบนั้นมีการทำงานอะไรบ้าง ข้อมูลที่เข้าสู่ระบบและข้อมูลที่ได้จากการทำงานของระบบนั้นมีข้อมูลอะไรบ้าง โดยไม่มีการระบุถึงเทคโนโลยีที่ใช้ หรือไม่ได้อธิบายว่าระบบนั้น “ทำงานอย่างไร” การนำข้อมูลเข้าสู่ระบบ “มีวิธีการอย่างไร” และข้อมูลที่ได้จากระบบนั้น “ได้มาอย่างไร”
เมื่อมาถึงขั้นตอนการออกแบบ ในที่นี้จะแบ่งการออกแบบเป็น 2 ส่วนได้แก่ การออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) และการออกแบบเชิงกายภาพ (Physical Design) โดยในเบื้องต้นผู้ออกแบบระบบจะต้องทำการพัฒนาแบบฟอร์ม (Form) และรายงาน (Report) ให้กับข้อมูลที่เข้าสู่ระบบ (Input Data flow) ข้อมูลที่ออกจากระบบ (Out Data flow) ข้อมูลที่อยู่ในระบบจากแบบจำลองเชิงตรรกะที่ได้มา ดังนั้น จึงเรียกการออกแบบ แบบฟอร์ม รายงาน และส่วนอื่นที่เกี่ยวข้องกับแบบจำลองเชิงตรรกะนี้ว่า “การออกแบบเชิงตรรกะ (Logic Design)” ซึ่งเป็นการออกแบบส่วนที่ 1 ของวงจรการพัฒนาระบบ (SDLC) นั่นเอง
เนื้อหาในส่วนของการออกแบบเชิงตรรกะ (Logical Design) แบ่งออกเป็น 3 ส่วนได้แก่
- การออกแบบแบบฟอร์มและรายงาน (Forms/Reports Design)
- การออกแบบ User Interface
- การออกแบบฐานข้อมูลในระบบตรรกะ (Logical Database Design)
เจ้าของร้าน |
ตรวจเช็คข้อมูลสินค้า |
ผู้จำหน่าย |
ขออนุมัติรายการสินค้าที่ซื้อเพิ่ม |
ตรวจเช็คแก้ไขข้อมูลสินค้า |
ผู้จำหน่าย |
บันทึกข้อมูลผู้จำหน่ายและส |
ทำใบสั่งซื้อสินค้าเพิ่ม |
สินค้า ใบสั่งซื้อสินค้าเพิ่ม
ผู้จำหน่าย ใบสั่งซื้อสินค้าเพิ่ม
DFD Level 0 ระบบตรวจเช็คสินค้า
รูปแสดง E-R Diagram ของระบบตรวจเช็คสินค้า